มือถือ: 063 516 6296 โทร: 0 2956 6118 โทรสาร: 0 2956 6117 komcharne@gmail.com

ไม่พบผลลัพธ์

ไม่พบหน้าที่คุณค้นหา ลองปรับการค้นหาหรือใช้แผงควบคุมด้านบนเพื่อค้นหาโพสต์

PTP on the moves…  Kuu Ne คูเน่ หนึ่งในนวัตกรรมเด่นในรอบ 72 ปี ม.เกษตร

PTP on the moves… Kuu Ne คูเน่ หนึ่งในนวัตกรรมเด่นในรอบ 72 ปี ม.เกษตร

คูเน่ หนึ่งในนวัตกรรมเด่นในรอบ 72 ปี  ผลงานวิจัย ม.เกษตร ได้รับรางวัลชนะเลิศ   Kuu Ne Onion Seasoning Powder Low Sodium          #KuuNe #คูเน่ #ผงปรุงครบรสเพื่อสุขภาพ #โซเดียมต่ำ #ใช้แทนผงชูรสและน้ำสต๊อก(ซุป) #2in1 #ปรุงอาหารก็ได้ หรือ #ชงดื่มก็ดีต่อสุขภาพ #ผลิตจากหอมหัวใหญ่ ช่วยป้องก้นความเสี่ยงต่อ #โรคอ้วน #ความดัน #เบาหวาน #หัวใจ #ต้านสารก่อมะเร็ง #ลดการอักเสบของเซล #ช่วยชะลอความชรา   Kuu Ne คูเน่ … #โภชนาการคุณค่า #เพื่อชีวิตที่ยืนยาวKuu Ne คูเน่ …#Wealth #Nutrition for #Lively #Healthwww.ptpfoods.comFacebook/kuunepageLine Id : OatEcho   บริษัท ปกธนพัฒน์ จำกัด ได้รับเกียรติเชิญเป็นผู้ร่วมเสวนา นวัตกรรมขับเคลื่อนธุรกิจ สู่เส้นทางสายไหมใน AEC โดยคณาจารย์และบัณฑิตศึกษา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์   เจรจาการค้าต่างประเทศ เข้าจังหวะช่วงเทศกาลต้อนรับตรุษจีน ความร่วมมือและความสำเร็จ ด้วยมิตรภาพและความจริงใจ #PTP on the moves … Kuu Ne wealth nutrition for lively health  #คูเน่ #หนึ่งในนวัตกรรมเด่นในรอบ72ปี #ผลงานวิจัย #ม.เกษตร #ได้รับรางวัลชนะเลิศ  Kuu Ne #Onion #Seasoning #Powder   #Low... อ่านเพิ่มเติม
เมนูอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุ

เมนูอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุ

เมนูอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของผู้สูงอายุ ถ้า ที่บ้านของคุณมีผู้สูงอายุร่วมชายคาเดียวกันอยู่ด้วย ไม่ว่าจะเป็นพ่อแม่หรือปู่ย่าตายาย คุณก็คงจะตระหนักกันเป็นอย่างดีว่า พวกท่านจะมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายเยอะมาก ดังนั้น การดูแลเรื่องอาหารการกินจึงเป็นเรื่องสำคัญ เพื่อให้สุขภาพร่างกายของพวกท่านแข็งแรง จะได้อยู่เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรให้กับลูกหลานไปนานๆ   – อย่างแรกที่เห็นได้ชัดเจนคือความเสื่อมเรื่องสุขภาพฟันค่ะ ควรเลือกเมนูอาหารที่นิ่มและเคี้ยวง่ายๆ   – ลดปริมาณเมนูอาหารที่ทำจากแป้งให้น้อยลง เนื่องจากร่างกายของผู้สูงอายุมีการใช้งานกล้ามเนื้อลดลงไปมาก อาหารพวกคาร์โบไฮเดรตส่วนเกินจะไปสะสมพอกพูน ทำให้น้ำหนักตัวเยอะ อาจส่งผลให้ข้อเข่าเสื่อมเร็วขึ้นก็เป็นได้ค่ะ   – อาหารประเภทโปรตีนก็ยิ่งจำเป็นต่อการซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ ช่วยสร้างเซลล์ใหม่ๆ ขึ้นมาทดแทน ซึ่งเนื้อสัตว์ที่เหมาะกับร่างกายผู้ใหญ่วัยนี้ควรจะเป็นเป็นเนื้อไก่ไม่ติด หนัง หรือเนื้อปลา เลี่ยงเนื้อหมูและเนื้อวัว เพราะทั้งย่อยยาก ทั้งไขมันเยอะ หรืออาจจะเลี่ยงเนื้อสัตว์มารับประทานพวกเต้าหู้ หรือถั่วชนิดต่างๆ โดยเฉพาะนมถั่วเหลือง ก็ดีต่อสุขภาพของผู้สูงอายุเช่นกันค่ะ   – เพิ่มวิตามินที่จำเป็นต่อร่างกายด้วยการรับประทานข้าวกล้อง ข้าวกล้องงอก ผักและผลไม้ให้เยอะๆ เพื่อเพิ่มวิตามิน แร่ธาตุ และกากใยอาหาร ลดปัญหาท้องผูก เพราะระบบย่อยอาหารทำงานได้ไม่เหมือนเดิมตามวัยที่เพิ่มมากขึ้น และสิ่งที่สำคัญที่สุดคือ ต้องพยายามเลี่ยงการจัดเมนูอาหารที่มีไขมันสูงๆ ให้มากที่สุดนะคะ เพราะไขมันนำพามาแต่โรคร้ายๆ ไม่ว่าจะความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และที่อาจจะพ่วงตามมาอีกมากมายเลยล่ะค่ะ   เมนูอาหาร เมนูอาหาร เมนูอาหาร ที่มา... อ่านเพิ่มเติม
วิ่งเหยาะๆ ทำให้อายุยืนกว่าวิ่งเร็วๆ จริงหรือไม่? ควรวิ่งนานแค่ไหน? งานวิจัยในเดนมาร์กมีคำตอบ

วิ่งเหยาะๆ ทำให้อายุยืนกว่าวิ่งเร็วๆ จริงหรือไม่? ควรวิ่งนานแค่ไหน? งานวิจัยในเดนมาร์กมีคำตอบ

นักวิจัยเดนมาร์กพยายามศึกษาหาคำตอบว่า การวิ่งที่เหมาะสมที่สุดนั้นควรช้าหรือเร็วแค่ไหน?  นานเท่าไร? การ ออกกำลังกายด้วยการวิ่ง เป็นทางเลือกยอดนิยมที่สุดสำหรับคนที่ต้องการเผาผลาญแคลอรี่และมีร่างกาย แข็งแรง มีอายุยืนยาว แต่หลายคนอาจจะยังสงสัยว่าการวิ่งที่เหมาะสมที่สุดนั้น ควรช้าหรือเร็วแค่ไหน นานเท่าไร ซึ่งนักวิจัยเดนมาร์กพยายามศึกษาหาคำตอบเรื่องนี้ รายงาน ที่ตีพิมพ์ในวารสาร Journal of the American College of Cardiology รวบรวมข้อมูลกลุ่มตัวอย่างชายหญิงวัยผู้ใหญ่ 1,098 คน ซึ่งวิ่งเป็นประจำสม่ำเสมอ ภายใต้โครงการศึกษา Copenhagen City Heart Study โดยได้ศึกษาข้อมูลความถี่ในการวิ่ง ระยะทาง เวลาที่ใช้ และอัตราเร่ง ตั้งแต่ปี ค.ศ 2001 จากนั้นนำข้อมูลไปเปรียบเทียบกับคนที่ไม่ค่อยออกกำลังกาย 3,950 คน จาก การวิเคราะห์ข้อมูล พบว่าคนที่วิ่งเป็นประจำแม้จะวิ่งเหยาะๆ จะมีอายุยืนยาวกว่าคนที่ไม่ได้วิ่งเลย แต่ที่น่าแปลกใจคือคนที่วิ่งเหยาะๆ กลับมีอายุยืนกว่าคนที่วิ่งเร็วด้วย โดยรายงานพบว่าคนที่วิ่งเร็วกับไม่ได้วิ่งเลยนั้น มีอายุเฉลี่ยพอๆ กัน รายงาน ชิ้นนี้ระบุว่า ระยะเวลาการวิ่งที่ทำให้อายุยืนยาวที่สุด คือการวิ่งเหยาะๆ ประมาณ 1 ชม. – 2 ชม.ครึ่ง ต่อสัปดาห์ แต่รายงานมิได้ระบุเจาะจงว่าการวิ่งช้าหรือเหยาะๆ นั้นคือกี่นาทีต่อกิโลเมตร เพียงแต่แบ่งเป็น 3 ระดับ คือวิ่งช้า วิ่งปกติ และวิ่งเร็ว แล้วให้กลุ่มตัวอย่างระบุเองว่าลักษณะการวิ่งของพวกเขาเป็นแบบไหน นัก วิจัย Jacob Louis Marott ผู้นำการวิจัยครั้งนี้บอกว่า การวิ่งด้วยอัตราที่เร็วเกินไปนั้นอาจไม่ได้ประโยชน์เท่าที่ควรในส่วนที่ เกี่ยวข้องกับความยืนยาวของชีวิต ซึ่งอาจเป็นเพราะการออกกำลังกายอย่างหนักบ่อยๆอาจสร้างผลเสียต่อกล้ามเนื้อ หัวใจได้ อย่าง ไรก็ตามยังมีประเด็นโต้แย้งอยู่บ้าง หนึ่งคือจำนวนกลุ่มตัวอย่างที่ชอบวิ่งเร็วๆบ่อยๆในการทดลองครั้งนี้ยังน้อย เกินไป สองคือนักวิจัยเดนมาร์กมิได้ระบุถึงสาเหตุการเสียชีวิตของกลุ่มตัวอย่างนัก วิ่งเหล่านั้นไว้ชัดเจน    รายงานจาก New York Times / เรียบเรียงโดยทรงพจน์... อ่านเพิ่มเติม
Page 10 of 12« First...89101112

ไม่พบผลลัพธ์

ไม่พบหน้าที่คุณค้นหา ลองปรับการค้นหาหรือใช้แผงควบคุมด้านบนเพื่อค้นหาโพสต์

all logo

ข้อมูลเพิ่มเติมติดต่อ บริษัท ปกธนพัฒน์ จำกัด
คุณคมชาญ มือถือ 086 791 7007
โทร. 0 2956 6118 โทรสาร 0 2956 6117
E-mail : komcharne@gmail.com
facebook : Kuu Ne คูเน่ (facebook.com/KuuNePage)
Line id : OatEcho